วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555

16/07/2555

ฮาร์แวร์ ( Hardware )
              ฮาร์แวร์ หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัส และจับต้องได้ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 4 ส่วน ดังนี้ 
          1. ส่วนประมวลผล          2. ส่วนความจำ          3. อุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก          4. อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล

ส่วนที่ 1 CPU เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ แปลข้อมูลดิบ และนำกับมาใช่ได้ประโยชน์  

ส่วนที่ 2   หน่วยความจำ ( Memory )จำแนกออกเป็น 3 ประเภท
                 1. หน่วยความจำหลัก
                 2. หน่วยความจำลอง
                 3. หน่วยเก็บข้อมูล

1.
หน่วยความจำหลัก  แบ่งได้  
         1.1
หน่วยความจำแบบ "แรม"  RAM = Random Access Memory    เป็นหน่วยที่ต้องการไฟฟ้าในการจัดเจ็บข้อมูลจนกว่าเราจะเปิดเครื่อง  หรือเพื่อรักษาข้อมูล เป็นแบบลบเลือนได้
1. หน่วยความจำหลัก  แบ่งได้  

     1.2 หน่วยความจำแบบ "รอม" ROM = Read only Memory   เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมเกี่ยวกับคอม  เป็บแบบความจำที่ไม่ลบเลือน  เป็นข้อมูลถาวร

2. หน่วยความจำสำรอง
               
หน่วยความจำสำรอง เป็นหน่วยความจำที่ทำงานกับข้อมูล และโปรแกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำมีจำกัด หน่วยความจำสำรองจึงสามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ  เช่น Herd Disk   CD-Rom   Floppy Disk
                   หน่วยความจำสำรอง ( Secondary Memory Unit )
หน่วยความจำสำรอง หรือ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว

หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลัก คือ
               1. ใช้ในการเก็บข้อมูล หรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
               2. ใช้ในการการเก็บข้อมูลโปรแกรมไว้อย่งถาวร
               3. ใช้เป็นสื่อในการสื่อสารผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งไปอีกเครื่อวงหนึ่ง

ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง   
              หน่วยความจำรองจะช่วนแก้ปัญหาการสวูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆ ที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลับประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูยหายจึงจำเป็นที่จะต้องมีความจำแบบสำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ ส่วนใหญ่จะใช้ในรูปแบบของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก  เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก หน่วยความจำสำรองถึงจะไม่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์ แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้โดยปรกติ

ส่วนที่แสดงผลข้อมูล  
   ส่วนที่แสดงผลข้อมูล  คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (monitor)  เครื่องพิมพ์ ( printer ) เครื่องพิมพ์ภาพ ( Plotor )  และลำโพง ( Speaker )

บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ 
                    บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจประกอบด้วยคนเพียงคนเดียว หรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์

ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
           1
. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
           2
. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
           3
. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
          1.
หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์    Edp. Monager 
          2
. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน System lnaly
          3.
โปรแกรมเมอร์ Programmer
          4.
ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์  Comput Operation
          5.
พนักงานจัดเตรียมข้อมูล

              1. ผู้จัดระบบ คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
              2. นักวิเคราะห์ระบบงาน คือ ผู้ทำการศึกษาระบบงานเดิม หรืองานใหม่ และทำการวิเคราะห์
              3.โปรแกรมเมอร์ คือ ผู้นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
              4. วิศวกรระบบ คือ ผู้ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุงและดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ
              5. พนักงานปฎิบัติการ คือ ผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่หรือ ภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์      แบ่งประเภทการจัดการระบบ 4 ระดับ
                              1. ผู้จัดการระบบ
                              2. นักวิเคราะห์ระบบ
                              3. โปรแกรมเมอร์
                              4. ผู้ใช้ User


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น